วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

++[8 ตัวอย่างภาษาอังกฤษแบบผิดๆ ที่ฮิตติดปากคนไทย]++

10 ตัวอย่างภาษาอังกฤษแบบผิดๆ ที่ฮิตติดปากคนไทย
ใน ปัจจุบันมีคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยใช้กันจนติดปากอยู่มากมาย แต่คุณเคยรู้ไหมว่ามีบางคำที่ ฝรั่งเค้าไม่ได้ใช้อย่างที่ เราพูดกันติดปาก ผมจึงเสนอคำศัพท์สัก 10 ตัวอย่างที่คนไทยมักใช้อย่างผิดๆพร้อมทั้งคำที่ถูกต้องซึ่งคุณควรนำไปใช้เวลาคุยกับฝรั่ง เริ่มเลยแล้วกันครับ
1) อินเทรนด์ (in trend) คำ นี้อินเทรนด์มากๆ เอ๊ย...ฮิตมากๆ ในปัจจุบัน สามารถได้ยินตามรายการวิทยุหรื อโทรทัศน์ทั่วไป เพราะใช้กันทั่วบ้านทั่วเมือง เช่น เด็กสมัยนี้ถ้าจะให้อินเทรนด์ต้ องตามแฟชั่นเกาหลี ซึ่งบางทีเวลาคุณต้องการพูดว่า "มันทันสมัย" คุณอาจจะติดปากว่า "It is in trend." คำว่า "ทันสมัย" ฝรั่งเค้าไม่ใช้คำว่า "in trend" อย่างคนไทยหรอกครับ เค้าจะใช้คำว่า "trendy" หรือ "fashionable" ซึ่งเป็นคำคุณศัพท์ที่คุ ณสามารถวางไว้หน้าคำนามที่ต้ องการขยาย เช่น a trendy haircut ทรงผมที่ทันสมัย, a fashionable restaurant ร้านอาหารที่ทันสมัย หรือจะไว้หลัง verb to be เช่น It is trendy. หรือ It is fashionable. ก็ได้
2) เว่อร์ (over) เช่น ใยคนนั้นทำอะไรเว่อร์ๆ She is over. ไม่มีความหมายแต่อย่ างใดในภาษาอังกฤษ ฝรั่งที่ได้ยินคุณพูดเช่นนี้ คงมึนตึบ พร้อมทำสีหน้างงว่ามันหมายถึ งอะไรเหรอ? พูดถึงคำนี้ คนไทยน่าจะหมายถึงการพูดเกินจริ งหรือทำเกินจริง ซึ่งถ้าพูดเกินจริง ควรจะใช้คำศัพท์ที่ว่า "exaggerate" เป็นคำกิริยา อ่านว่า เอก-แซ้ก-เจ่อ-เรท เช่น "He said you walked 30 miles." เค้าบอกว่าคุณเดินตั้ง 30 ไมล์ "No - he's exaggerating. It was only about 15." ไม่หรอก เค้าพูดเว่อร์ (เกินจริง) มันก็แค่ 15 ไมล์เอง ดัง นั้น ถ้าจะบอกว่า เธอพูดเว่อร์น่ะ ก็บอกว่า You're exaggerating. หรือจะบอกเค้าว่า อย่าพูดเว่อร์ๆ น่ะ อาจใช้ว่า Don't exaggerate. ส่วนอาการเว่อร์อีกแบบคื อการทำเกินจริง เราจะใช้คำกิริยาที่ว่า "overact" เช่น You're overacting. เธอทำเว่อร์เกิน (แสดงอารมณ์เกินจริง)
3) ดูหนัง soundtrack เวลา คุณจะบอกใครว่า ฉันต้องการดูหนังฝรั่งที่พากย์ ภาษาอังกฤษ อย่าพูดว่า "I want to watch a soundtrack film." แต่ควรจะใช้ว่า "I want to watch an English film." เพราะความหมายของคำว่า "soundtrack" คือ ดนตรีที่อยู่ในภาพยนตร์ ต่างหากล่ะครับ ถ้าเราจะพูดถึงหนังฝรั่งที่ พากย์เสียงภาษาไทย เราต้องบอกว่า "I want to watch an English film that is dubbed into Thai." เพราะคำกิริยาว่า "dub" คือพากย์เสียงจากต้นแบบในหนั งหรือรายการโทรทัศน์ไปเป็ นภาษาอื่น ส่วน หนังที่มีคำบรรยายใต้ ภาพเราเรียกว่า "a subtitled film" ซึ่งคำบรรยายที่อยู่ใต้ภาพ เราเรียกว่า "subtitles" (ต้องมี s ต่อท้ายเสมอนะครับ) เช่น a French film with English subtitles หนังฝรั่งเศสที่มีคำบรรยายใต้ ภาพเป็นภาษาอังกฤษ หนังบางเรื่องจะ มีคำบรรยายใต้ ภาพเป็นภาษาเดียวกับที่นั กแสดงพูด เรามีศัพท์เรียกเฉพาะว่า "closed-captioned films/videos/television programs" หรือ อาจเขียนย่อๆ ว่า "CC" เช่น You should watch a closed-captioned film to improve your English. คุณควรจะดูหนังฝรั่งที่มี คำบรรยายภาษาอังกฤษเพื่อพั ฒนาภาษาอังกฤษของคุณ
4) นักศึกษาปี 1 คนไทยมักเรียกว่า "freshy" ซึ่ง ฝรั่งไม่รู้เรื่องหรอกครับ เพราะไม่มีการบัญญัติศัพท์คำนี้ ในภาษาอังกฤษ เค้าจะใช้คำว่า "fresher" หรือ "freshman" เช่น He is a fresher. หรือ He is a freshman. หรือ He is a first-year student. เขาเป็นนักศึกษาปี 1 ส่วนปีอื่นๆ คนไทยเรียกถูกแล้วครับ คือ ปี 2 เราเรียก a sophomore, ปี 3 เรียกว่า a junior และ ปี 4 เรียกว่า a senior
5) อัดหรือบันทึก คนไทยมักพูดทับศัพท์ว่า เร็คคอร์ด (record) คำๆ นี้สามารถเป็นได้ทั้ งคำนามและคำกิริยา เพียงแค่เปลี่ยนตำแหน่ง stress กล่าวคือ ถ้าจะใช้เป็นคำนามที่แปลว่า แผ่นเสียงหรือสถิติ ให้ขึ้นเสียงสูงที่พยางค์แรก คือ "เร็ค-คอร์ด" เช่น He wants to buy a record. เขาต้องการซื้อแผ่นเสียง, I broke my own record. ฉันทำลายสถิติของฉันเอง แต่ถ้าคุณจะหมายถึงคำกิริยาที่ แปลว่า อัดหรือบันทึก ต้อง stress พยางค์หลัง ซึ่งจะอ่านว่า "รี-คอร์ด" เช่น I'll record the film and we can all watch it later. ฉันจะอัดหนัง เราจะได้เก็บไว้ดูทีหลังได้ ส่วนเครื่องบันทึก เราเรียกว่า "recorder" อ่านว่า รี-คอร์-เดอร์
6) ต่างคนต่างจ่าย เรามักใช้ American share รับรอง ว่าฝรั่ง(ต่อให้เป็ นชาวอเมริกันด้วยครับ) ได้ยินแล้ว งงแน่นอน ถ้าคุณจะหมายถึงต่างคนต่างจ่ ายให้ใช้ว่า "Let's go Dutch." หรือ "Go Dutch (with somebody)." อันนี้ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าเป็ นธรรมเนียมของชาวดัตช์หรือเปล่ า? ที่ต่างคนต่างจ่ายเลยมีสำนวนอย่ างนี้ หรือคุณอาจจะบอกตรงๆ เลยว่า "You pay for yourself." คือเป็นอันรู้กันว่าต่างคนต่ างจ่าย แต่ถ้าคุณต้องการเป็นเจ้ามือ( ไม่ใช่เล่นไพ่นะครับ)เลี้ยงมื้ อนี้เอง คุณควรพูดว่า "It's my treat this time." หรือ "My treat." หรือ "It's on me." หรือ "All is on me." หรือ "I'll pay for you this time." ทั้งหมดแปลว่า มื้อนี้ฉันจ่ายเอง ส่วนถ้าจะบอกเพื่อนว่า คราวหน้าแกค่อยเลี้ยงฉันคืน ให้บอกว่า "It's your treat next time."
7) ขอฉันแจม (jam) ด้วยคน ใน กรณีนี้คำว่า "แจม" น่าจะหมายถึง "ร่วมด้วย" เช่น We are going to eat outside. Do you want to jam? เรากำลังจะออกไปกินข้าวข้างนอก เธอจะไปด้วยมั้ย? ในภาษาอังกฤษไม่ใช้คำว่า jam ในกรณีแบบนี้ ซึ่งควรจะใช้ว่า "Do you want to join us?", "Do you want to come with us?" หรือ "Do you want to come along?" จะดีกว่าครับ
8) เขามีแบ็ค (back) ดี "He has a good back." ฝรั่ง คงงงว่ามันเกี่ยวอะไรกับข้ างหลังของเค้า เพราะ back แปลว่า หลัง (อวัยวะ) แต่คุณกำลังจะพูดถึงมีคนคอยสนั บสนุน ซึ่งต้องใช้ "a backup" ซึ่งหมายถึง คนหรือสิ่งของที่ช่วยสนับสนุน ช่วยเหลือ เกื้อกูล เป็นกำลัง

++ขอบคุน :: http://variety.teenee.com/foodforbrain/11721.html

วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Château d'Angers




Le Château d’Angers est situé dans la ville d’Angers dans le département de Maine-et-Loire en France.
Le château est géré par le Centre des Monuments Nationaux [1].
La forteresse, sur un promontoire de schiste ardoisier qui domine la Maine, fut l’un des sites occupés par l’Empire romain à cause de sa position défensive stratégique.
Pendant le IXe siècle, la forteresse passa sous l’autorité des comtes d’Anjou. Elle est conquise en 1204 par Philippe II. Les remparts massifs construits de 1230 à 1240 à l’initiative de saint Louis ont une circonférence d’environ 650m de long et sont flanqués de dix-sept tours. Du côté nord, l’abrupt du plateau est tel que les architectes n’ont pas jugé nécessaire de compléter les défenses.
Durant les guerres de Religion, Henri III donna l’ordre de raser la place afin qu’elle ne tombe pas entre les mains des protestants. On commença à découronner les tours, mais les travaux furent interrompus. On décida alors d’établir à leurs sommets des terrasses d’artillerie.
Au début de messidor an I (fin juin 1793), les Vendéens échouent à investir la place forte.
Pendant la Seconde Guerre mondiale, les bombardements alliés touchent un dépôt de munition dont l’explosion endommage les remparts.
Le château abrite aujourd’hui la Tapisserie de l’Apocalypse, célèbre tenture datant du Moyen Âge, relatant l’Apocalypse selon saint Jean ; tenture réalisée par le lissier royal Nicolas Bataille sur des dessins d’Hennequin de Bruges.
Remarques concernant le château d’Angers : ce château (réputé comme l’un des plus imprenables de France) fut pris une seule et unique fois dans son histoire, du fait de deux hommes seuls ! Les profondes douves qui cerclent le château n’ayant jamais été inondées malgré la présence mitoyenne de la Maine (le château ayant toutefois été bâti près de ce point d’eau dans l’optique de dériver son cours) ont évidemment facilité cette intrusion. Pour ce qui est des douves, elles abritèrent par contre une collection d’animaux sauvages (lions, panthères, loups, ours…) ainsi que des rapaces. La ville d’Angers a d’ailleurs le projet de remettre au goût du jour la fauconnerie, si chère au célèbre « Bon roi René » dès l’été 2007. La municipalité a d’ailleurs d’ores-et-déjà fait l’acquisition de deux rapaces.