วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Keep Open Mind to learn.เปิดโลกทัศน์ให้กว้าง

ฟ้ามิได้แบ่งแยก"ยอดคน"กับ"คนธรรมดา"ออกจากกัน
ยอดคนจะปรากฎขึ้นเสมอ
แต่นั่นมิใช่"ฟ้ากำหนด"
การที่"ยยอดคน"ปรากฎขึ้นมาได้
เพราะเขาผ่านการ"ฝึกฝน"และ"เรียนรู้"ที่จะเป็นยอดคน

"อัจฉริยะ"ไม่ใช่สัตว์ประหลาดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
แต่เป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมา ไม่มีใครเก่งมาตั้งแต่เกิด
คนเก่งนั้นต้องได้รับการฝึกฝน
ม้าดีต้องมีคนขี่ม้ามาฝึกฝน
นักกีฬาที่ดีก็ต้องมีโค้ชที่ดีมาฝึกฝน

Don't look down yourself!
อดีตไม่สำคัญว่าเราเป็นใคร
สำคัญที่ว่าวันนี้เราต้องการเป็นใคร
จงเคารพนับถือในความสามารถตัวเอง
ยกย่องและให้เกียรติตัวเอง

สมองคนเราเหมือนพื้นที่ดินว่างเปล่า
เมื่อเราปลูกอะไรลงไปเราก็จะได้ผลอย่างนั้น
จงปลูกฝังแต่สิ่งดีๆลงไปในสมอง
คำพูดใดๆที่เราเคยได้ยินซ้ำๆซากๆเกิน37ครั้ง
มันจะกลายเป็น"อุปนิสัย"ของเราทันที

สิ่งที่น่ากลัวที่สุดในโลกคือ"สิ่งแวดล้อม"
อย่าปล่อยให้ความคิดหรือคำพูดของคนบางคนมาตัดสินชีวิตของเรา
ในโลกนี้ไม่มีใครมีอิทธิพลกับตัวเรา นอกจากตัวเราเอง

ชีวิตไม่ใช่เกมกีฬา ไม่มีเวลาพักครึ่ง ไม่มีการขอเวลานอก
และที่สำคัญคือ"เปลี่ยนตัวผู้เล่นไม่ได้"
ไม่มีใครเกิดมาล้มเหลว มีแต่"ล้มเลิก"

คนฉลาด...ต้องโง่เป็น
คนโง่ไม่เป็น..จะไม่มีทางฉลาด

เพียงคุณคิดว่าคุณทำได้..คุณก็ทำได้ตั้งแต่ที่คุณคิด
แต่หากคุณคิดว่าคุณทำไม่ได้ คุณก็ทำไม่ได้ตั้งแต่ที่คุณคิด

แม้แต่คิดยังไม่กล้าที่จะคิด แล้วชีวิตจะประสบความสำเร็จได้อย่างไร
จงกล้าที่จะเผชิญความล้มเหลว..ความล้มเหลวคือครูที่ทดสอบตัวเรา

ฟัง.....แต่..ไม่ได้ยิน
ได้ยิน..แต่..ไม่เข้าใจ
เข้าใจ..แต่..ไม่ลึกซึ้ง
ลึกซึ้ง..แต่..ไม่แตกฉาน
แตกฉาน..แต่..นำไปใช้ไม่เป็น
จงนำศักยภาพและอัจฉริยภาพที่ซ่อนเร้นในตัวเรา
มาใช้อย่างชาญฉลาด

วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550

LES ÉTUDES EN FRANCE[การศึกษาในประเทศฝรั่งเศส]-ขโมยมาจากwww.rn.ac.th/kkเช่นเคย

ENSEIGNEMENT MATERNEL [การศึกษาระดับอนุบาล]
ÉCOLE MATERNEL : - (3 ans / ปี) - Petite section [อนุบาล 1]
[โรงเรียนอนุบาล] - (4 ans / ปี) - Moyenne section [อนุบาล 2]
- (5 ans / ปี) - Grande section [อนุบาล 3]
ENSEIGNEMENT PRIMAIRE [การศึกษาระดับประถมศึกษา]
ÉCOLE PRIMAIRE : - (6 ans / ปี) - CP (Cours préparatoire) [ประถม 1]
[โรงเรียนประถมศึกษา] - (7 ans / ปี) - CE1 (Cours élémentaire 1re année) [ประถม 2]
- (8 ans / ปี) - CE2 (Cours élémentaire 2e année) [ประถม 3]
- (9 ans / ปี) - CM1 (Cours moyen 1re année) [ประถม 4]
- (10 ans / ปี) - CM2 (Cours moyen 2e année) [ประถม 5]
ENSEIGNEMENT SECONDAIRE [การศึกษาระดับมัธยมศึกษา]
COLLÈGE (1er cycle) : - (11 ans / ปี) - 6e [ประถม 6]
[โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น] - (12 ans / ปี) - 5e [มัธยมศึกษาปีที่ 1]
- (13 ans / ปี) - 4e [มัธยมศึกษาปีที่ 2]
- (14 ans / ปี) - 3e [มัธยมศึกษาปีที่ 3]
จบแล้วได้รับ BREVET [ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น]
LYCÉE (2e cycle) : - (15 ans / ปี) - 2nde [มัธยมศึกษาปีที่ 4]
[โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย] - (16 ans / ปี) - 1re [มัธยมศึกษาปีที่ 5]
- (17 ans / ปี) - Terminale [มัธยมศึกษาปีที่ 6]
จบแล้วได้รับ BACCALAURÉAT [ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย]
ENSEIGNEMENT SUPÉRIEUR [การศึกษาระดับอุดมศึกษา]
UNIVERSITÉ : - (18 ans / ปี ......) - เรียน 2 ปี (1er Cycle) ได้ปริญญา DEUG, DEUST
[มหาวิทยาลัย] - เรียน 2 ปี + 1 ปี (2e Cycle) ได้ปริญญาตรี (Licence)
- เรียน 2 ปี + 2 ปี (2e Cycle) ได้ปริญญาโท (Maîtrise)
- เรียน 2 ปี + 4 ปี (3e Cycle) ได้ปริญญาเอก (Doctorat)
GRANDES ÉCOLES : - (18 ans / ปี .....) - เรียน 2 ปี (ชั้นเตรียมเพื่อสอบแข่งขันเข้าศึกษา)
[สถาบันการศึกษาชั้นสูง] เรียนอีก 3 ปี (เมื่อสอบแข่งขันเข้ามาได้)
INSTITUT UNIVERSITAIRE DE TECHNOLOGIE (IUT) : - (18 ans / ปี ....)
[สถาบันเทคโนโลยี] - เรียน 2 ปี ได้ปริญญา
DUT หรือ BTS

วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2550

La Boum 2

La Boum 2 est un film de Claude Pinoteau, sorti en 1982.
Synopsis : สรุปใจความสำคัญ
Deux ans après La Boum, Vic, maintenant âgée de 15 ans et demi, a une vie amoureuse très calme. Ses parents sont de nouveau heureux ensemble. Puis Vic tombe sous le charme de Philippe.
Fiche technique
Titre : La Boum 2
Réalisation : Claude Pinoteau
Scénario : Claude Pinoteau et Danièle Thompson
Producteur : Marcel Dassault et Alain Poiré
Musique originale : Vladimir Cosma
Musique : Cook da Books (Your Eyes)
Sortie en France : 8 décembre 1982
Durée : 1h29
Distribution
Claude Brasseur : François Beretton
Brigitte Fossey : Françoise Beretton
Sophie Marceau : Vic Beretton
Pierre Cosso : Philippe Berthier
Sheila O'Connor : Pénélope Fontanet
Denise Grey : Poupette
Lambert Wilson : Félix Maréchal
Alexandra Gonin : Samantha Fontanet
Zabou Breitman : Catherine
Jean-Philippe Léonard : Stéphane
Alexandre Sterling : Mathieu
Claudia Morin : Mme Fontanet
Olivier Pourcel : le petit Lucas
Bande originale du film
Reality (Cosma-Jordan) – Richard Sanderson
I Can’t Swim (Cosma-Harvest) – Paul Hudson
Get It Together (Cosma-Jordan) – Cook Da Books
Disillusion (Instrumental) (Cosma) – King Harvest Group
Maybe You’re Wrong (Cosma-Jordan-Harvest) – Freddie Meyer & King Harvest Group
Your Eyes (Cosma-Jordan) – Cook Da Books
Silverman (Cosma-Jordan) – Cook Da Books
Reaching Out (Cosma-Harvest) - Freddie Meyer & King Harvest Group
Rockin’ At The Hop (Cosma-Jordan) – Paul Hudson
Silverman (Instrumental) (Cosma) – King Harvest Group
La Boum 2 (Instrumental) (Cosma) – King Harvest Group

วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2550

มันมากับส้มตำ??

ส้มตำเป็นอาหารที่แพร่หลายและนิยมรับประทานไปทุกภาค ทุกส่วนของประเทศไทย แต่ใครเลยจะรู้ว่าอาหารระดับชาติอย่างส้มตำนั้น แฝงด้วยสิ่งปนเปื้อนอะไรบ้าง ซึ่งเป็นสิ่งที่เราอาจมองไม่เห็น ประกอบด้วย สารเคมีที่ปนเปื้อนในวัตถุดิบที่นำมาปรุงส้มตำ มีดังนี้

ยาฆ่าแมลง เป็นสิ่งที่จะพบการตกค้างในผักที่จะนำมาปรุงส้มตำ และเป็นเครื่องเคียง เช่น ถั่วฝักยาว มะเขือเทศ โหระพา มะละกอ พริกขี้หนู มะนาว ผักกะหล่ำ ที่บริโภคกับส้มตำ เมื่อเราบริโภคพืชผักที่มียาฆ่าแมลงปนเปื้อนอยู่จะทำให้ระบบคุ้มกันของร่างกายอ่อนแอ ดังนั้น เราควรเลือกซื้อผัก ผลไม้ ที่ปลอดสารเคมีทางการเกษตร และควรล้างผัก ผลไม้ให้สะอาด ก่อนที่จะนำไปปรุงอาหารหรือบริโภค ซึ่งจะลดยาฆ่าแมลงและเชื้อโรค พร้อมทั้งไข่พยาธิที่ปนเปื้อนในผัก ผลไม้ได้

สารฟอร์มาลิน สารฟอร์มาลินเป็นน้ำยาใช้ดองศพ หรือฉีดศพไม่ให้เน่า ได้มีผู้ประกอบการที่จำหน่ายอาหารสด นำน้ำยาฟอร์มาลินไปแช่ในอาหารทะเล ผักสด เครื่องในวัวดิบ เพื่อป้องกันการเน่าเสียของอาหาร และได้มีพ่อค้า แม่ค้าส้มตำบางรายนำมาชุบมะละกอสับเพื่อไม่ให้บูด ซึ่งฟอร์มาลินนี้ทำให้เกิดมะเร็ง ไอของสารฟอร์มาลิน ถ้าสูดดมจะทำให้แสบจมูก และระคายเคืองในตาด้วย การเลือกซื้ออาหารจากทะเลควรซื้อจากร้านที่มีป้ายอาหารปลอดภัย และล้างด้วยน้ำสะอาด จะช่วยลดการปนเปื้อนของสารฟอร์มาลินในอาหารสดได้

สารอฟาทอกซิน เป็นสารพิษที่เกิดจากราสีดำ สร้างและทิ้งไว้ในอาหาร โดยราชนิดนี้ชอบอากาศร้อน ซึ่งมีอยู่ในพื้นดินและอากาศ อาหารที่มักพบสารอฟาทอกซิน ได้แก่ ถั่วลิสง ข้าวโพด เมล็ดธัญพืชที่มี ความชื้น และถั่วลิสงคั่วก็เป็นส่วนหนึ่งของส้มตำ
และมักพบสารอฟาทอกซินในถั่วลิสงคั่วที่เก็บไว้นาน ในถุงที่ไม่ได้ปิดสนิท ที่ป้องกันอากาศเข้าออกได้ โดยสารอฟาทอกซินจะทำให้เกิดโรคมะเร็งที่ตับ

สีในกุ้งแห้ง เป็นสิ่งที่มีการเติมแต่งให้ดูสวยงาม ประกอบด้วยสีผสมอาหาร เป็นสีปลอดภัยนำมาผสมในอาหารได้บางชนิด แต่พ่อค้าแม่ค้าบางรายมักง่ายใช้สีย้อมผ้า เนื่องจากมีราคาถูกมาใช้ผสมอาหาร ซึ่งสีย้อมผ้ามีพิษสูง บางชนิดทำให้เกิดมะเร็งได้ ส่วนสีผสมอาหารแม้จะไม่เป็นพิษ แต่การบริโภคอาหารที่ใส่สีผสมอาหารในปริมาณมาก ร่างกายต้องกำจัดออกทำให้ไตต้องทำงานหนัก มีโอกาสทำให้เป็นโรคไตได้

สารฟอกขาว ถูกนำมาใช้ในอาหารหลายประเภท เพื่อฟอกสีที่ไม่สวยหรือดำให้ดูขาวสะอาด อาหารที่มักพบว่า มีการใช้สารฟอกขาว เช่น ถั่วงอก ยอดมะพร้าวอ่อน ขิงหั่นฝอย ผลไม้ที่ปอกเปลือก(กระท้อน) น้ำตาลปี๊บ ทุเรียนกวน ผลไม้ดอง เป็นต้น สารฟอกขาวที่เป็นพิษสูง ได้แก่ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ หรือโซเดียมไทโอไนต์ ปกติจะใช้ฟอกแห อวน ไม่อนุญาตให้นำมาใช้ผสมในอาหาร โซเดียมไบซัลไฟต์ สารนี้มีความเป็นพิษไม่รุนแรง แต่การนำมาใช้ผสมอาหารต้องขออนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขก่อน และใช้ในปริมาณจำกัดเท่านั้น

วันอาทิตย์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Friend..Friend

Cirque du Soleil.ในหนังสือของอาจารย์วัชรี

Le Cirque du Soleil, compagnie de nouveau cirque, se singularise par des numéros ne recourant pas à des animaux tout en donnant la part belle à des artistes de mime et à des acrobates, est sise à Montréal, dans le quartier Saint-Michel.

Fondé en 1984 par Guy Laliberté et Daniel Gauthier, l'entreprise compte plus de 3 000 salariés, animant huit spectacles en tournée (sous chapiteau) qui tournent parallèlement sur la planète et six autres spectacles permanents, tous à thématiques différentes.

Les spectacles en tournée : Saltimbanco (qui vient d'être relancé dans une nouvelle formule en "aréna") Alegría, Quidam, Dralion (dragon pour l'orient et lion pour l'occident avec une troupe venant de Chine), Varekai et tout dernièrement Corteo , Delirium et Kooza. Les spectacles permanents: Mystère (Las Vegas), O (Las Vegas), La Nouba (Orlando), Zumanity (Las Vegas), KA (Las Vegas) et Love (Las Vegas).

Deux nouveaux spectacles permanents sont prévus, l'un à Tokyo Disney Resort en 2008 et l'autre à Macao. Un nouveau spectacle de tournée sera lancé à Montréal le 19 avril 2007, il porte le nom de Kooza.


Histoire
- 1982 : À Baie-Saint-Paul, une troupe de jeunes saltimbanques se fait remarquer. C'est le Club des talons hauts. Ils créent la Fête Foraine de Baie-Saint-Paul. Ce sont les prémisses de la compagnie.
- 1984 : À l'occasion de la célébration du 450ème anniversaire de l'arrivée de Jacques Cartier au Canada, le Cirque du Soleil est créé avec l'aide du gouvernement du Québec. Ils se démarquent déjà des autres cirques par ses costumes, ses musiques et sa mise en scène.
- 1985 : Après Québec et sa région, première visite en Ontario pour le cirque.
- 1986 : Avec La Magie Continue, le cirque continue son périple et présente quelques spectacles à Vancouver à l'occasion de l'expo 86.
- 1987 : Premier passage aux États-Unis. C'est une année cruciale pour le cirque qui présente le Cirque Réinventé au Los Angeles Festival puis à San Diego et à Santa Monica. Le pari était risqué mais le succès est immédiat. Le cirque est lancé vers le succès.
- 1988 : Le Cirque Réinventé continue sa tournée avec un passage aux jeux olympiques de Calgary. Partout le spectacle affiche "complet".
- 1989 : Le Cirque Réinventé va à Miami, Chicago et Phoenix.
- 1990 : C'est la première mondiale à Montréal de Nouvelle Expérience sous un nouveau chapiteau de 2 500 places. Le succès est foudroyant. Le Cirque Réinventé fait une escale à Londres et à Paris où le tombé de rideau aura lieu. Ce premier passage en Europe n'a pas été aussi bon qu'espéré.
- 1991 : Nouvelle Expérience continue sa tournée nord-américaine. Le spectacle a été acclamé par 1 300 000 spectateurs depuis son lancement.
- 1992 : Fascination, spectacle regroupant les meilleurs numéros des précédentes productions est lancée au Japon pour ouvrir ce marché. Et également présenté avec le Cirque Knie un spectacle en Suisse. Quant à Nouvelle Expérience, le spectacle établi son chapiteau pour un an à l'hôtel The Mirage à Las Vegas. Saltimbanco est lancé cette même année à Montréal.
- 1993 : Le cirque s'installe dans un théâtre fixe spécialement conçu pour lui à l'hôtel Treasure Island à Las Vegas. Un contrat est signé avec Mirage Resorts pour y présenter Mystère. Saltimbanco continue sa tournée américaine en étant ovationné par 400 000 spectateurs.
- 1994 : Saltimbanco part pour 6 mois à Tokyo, avec succès. Pour le dixième anniversaire de la compagnie est lancé Alegría qui va entamer une tournée Nord Américaine. Quant à Mystère, le spectacle fait fureur à Las Vegas.
- 1995 : Saltimbanco part à la conquête de l'Europe sous un nouveau chapiteau blanc de 2 500 places. Amsterdam devient la ville hôte du siège social européen de la compagnie.
- 1996 : Une nouvelle production est lancée à Montréal, Quidam. Il s'en suit une tournée en Amérique du Nord de 3 ans. Saltimbanco poursuit son périple en Europe à Londres, Hambourg, Stuttgart, Anvers, Zurich et Francfort. Alegría part au Japon.
- 1997 : À Londres, le rideau tombe sur Saltimbanco au Royal Albert Hall. Alegría arrive en Europe peu après. À Montréal est inauguré en février le Studio, siège social international abritant le centre de production et de création de la compagnie.
- 1998 : Quidam achève sa tournée en Amérique du Nord. 2 500 000 personnes ont applaudi le spectacle. En octobre 1998, un deuxième spectacle fixe prend l'affiche au Bellagio à Las Vegas. C'est O, premier spectacle aquatique de la compagnie. En décembre un autre spectacle fixe prend l'affiche à Orlando au Walt Disney World Resort, La Nouba. Saltimbanco est relancé pour percer de nouveaux marchés. Alegría, le film, inspiré par le spectacle du même nom est lancé.
- 1999 : Quidam débute en mars une tournée européenne de 4 ans. À Montréal est lancé Dralion. Alegría s'installe pour un an à l'hôtel - casino Beau - Rivage à Biloxi. Le dîner - spectacle Pomp Duck and Circumstance reprend la route en Europe.
- 2000 : Journey of Man, film en IMAX et en 3D est lancé. C'est un concentré des meilleurs numéros mis en valeur par des paysages et monuments des quatre coins du monde.
- 2001 : Alegría effectue un périple en Asie du Sud-Est. Le siège social de Montréal se voit agrandir de 15 000 mètres carrés grâce à une annexe.
- 2002 : En avril est lancée un nouveau spectacle de tournée à Montréal, Varekai. Les autres productions continuent d'enchanter le monde sur les 4 continents.
- 2003 : Fire Within est lancé. Cette série audiovisuelle présente la création de Varekai. À Las Vegas, une nouvelle production fixe arrive au New-York New-York hôtel - casino. C'est Zumanity une sorte de cabaret pour adulte. Le pari est risqué. Solstrom, une autre série télévisée est lancée.
- 2005 : En février est lancé à Las Vegas une nouvelle production au MGM Grand, [1]. Cette production qui vient s'ajouter aux autres spectacles fixes à Las Vegas est encensée par les critiques. C'est l'un des spectacle les plus techniques et les plus chers de la compagnie. En avril est lancé à Montréal, Corteo (qui signifie « cortège » en italien) est une joyeuse procession, une parade festive imaginée par un clown.
- 2006 : Love, hommage aux Beatles, est lancé au Mirage Resort à Las Vegas le 1er juillet 2006. [2] C'est le 5e spectacle fixe de la compagnie dans la ville. Inspiré par la musique des Beatles, ce spectacle participe au projet de relance de l'hôtel. L'humoriste et musicien québécois François Pérusse y a contribué en remixant différents enregistrements des discussions des Beatles lors des sessions originales.
- 2007 : Kooza est lancé en avril tandis qu' Alegría sera de passage à Paris (à Saint-Denis) de mai à juillet.
+++++++++++
compagnie [n.f.] บริษัท,คณะ,ห้างร้าน
singularise [v.] ทำให้จับตา,ทำให้เด่น
acrobate [n.f.] นักกายกรรมโลดโผน
parallèle [n.m.] ขนาน,การเปรียนเทียบ

วันอาทิตย์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2550

"การรับประทานอาหารแบบตะวันตก" มารยาทที่คนไทยพึงรู้

สำหรับมารยาทแบบตะวันตกขั้นพื้นฐานนำมาให้อ่านแบบ 'ฮาวทู' ประดับเป็นความรู้ ส่วนใครสนใจขยายวิชาเรื่องนี้ติดต่อไปที่โรงแรมได้เลย

มารยาทการรับประทานอาหารแบบตะวันตก

* เมื่อเข้าไปที่โต๊ะอาหาร สุภาพบุรุษควรดึงเก้าอี้ให้สุภาพสตรี แล้วคลี่ผ้าเช็ดปากบนโต๊ะให้สุภาพสตรีด้วย การคลี่ผ้าเช็ดปากให้วางบนตัก โดยพับเป็นสองท่อนเอาชายผ้าเข้าหาตัว แล้วใช้เช็ดปากจากด้านในเพื่อไม่ให้คนข้างๆ เห็นรอยเลอะอาหารหรือร่องรอยลิปสติก

แล้วเมื่อต้องลุกจากโต๊ะ ระหว่างรับประทานอาหารผ้าเช็ดปากนั้นให้วางลงบนเก้าอี้หรือพนักวางแขน เมื่อรับประทานเสร็จแล้ว ให้เอาผ้าวางบนโต๊ะด้านขวา

* ควรนั่งอย่างสบาย ตัวตรง ไม่ก้มหน้า ให้ดึงเก้าอี้เข้าหาโต๊ะ และไม่ไขว่ห้าง ไม่นั่งเท้าแขน เอามือวางบนตัก และไม่ควรประแป้งหรือทาลิปสติกบนโต๊ะอาหาร* จำไว้ว่าจานขนมปังจะอยู่ทางซ้ายมือเสมอ (หากหยิบผิดกล่าวขอโทษ แล้วเปลี่ยนจานขนมปังได้)

* ขนมปังหยิบทานได้เลย ไม่ต้องรอให้เจ้าภาพบอก หากหมดแล้วขอใหม่ได้ วิธีรับประทานที่ถูกต้อง คือ บิขนมปังด้วยมือ แล้วทาเนยตรงชิ้นที่เข้าปาก และเมื่อใช้มีดป้ายขนมปังเสร็จแล้ว ต้องวางคืนไว้ที่จากขนมปัง ( ขนมปังรับประทานได้เรื่อยๆ จนกระทั่งจบเมนคอร์ส ถือเป็นอันสิ้นสุด)

* แก้วน้ำอยู่ทางขวามือ อย่าใช้ผิดจะผิดทั้งโต๊ะ

* ท่องเอาไว้ว่าใช้ช้อน ส้อม มีด จากด้านนอกสุดเข้าหาด้านในสุด

* การรับประทานซุปด้วยช้อนซุป ควรตักซุปออกจากตัว ทานซุปทางด้านข้างของช้อน และถ้าเป็นซุปใสใส่ถ้วยที่มีหู สามารถยกถ้วยดื่มได้เลย (ซุปข้นไม่ได้) และไม่ควรมีเสียงดัง และไม่ควรเอาขนมปังจิ้มซุป อย่าเด็ดขาด!

* ควรสนทนากับผู้นั่งข้างเคียงบ้าง แต่อย่าให้เสียงดัง เวลาสนทนาควรวางมีดกับส้อมบนจานเสียก่อน อย่าถือมีดหรือส้อมชี้ประกอบท่าทาง

* เวลารับประทานเนื้อ นิยมตัดรับประทานทีละชิ้น แบบอังกฤษ แต่แบบอเมริกันจะหั่นเนื้อจนหมด แล้ววางมีดไว้ด้านบนของจานแล้วเปลี่ยนถือส้อมด้วยมือขวาส่งอาหารเข้าปาก สำหรับในประเทศไทยนิยมแบบอังกฤษ

* เวลาหั่นอาหารหยิบส้อมขึ้นมา ให้คว่ำ แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้งโป้งจับไว้ที่คอมีด เพื่อจะได้ออกแรงหั่นได้ดี

* ถ้าเป็นอาหารที่เป็นเส้น เช่น พวกสปาเกตตี ให้ใช้ส้อมม้วนเส้น แล้วค่อยนำใส่ปากรับประทาน

* หากเสิร์ฟ ชอร์เบท (Sorbet) ไอศกรีมที่ไม่ใส่นม ไม่ใส่ครีม มีรสเปรี้ยวนำ เพื่อล้างปากก่อนอาหารจานต่อไป จะเสิร์ฟสำหรับงานพิธีการใหญ่ๆ ต้องเสิร์ฟ ถ้าเป็นงานปกติจะไม่เสิร์ฟ

* ไม่ควรเอื้อมหยิบของข้ามหน้าแขกท่านอื่นๆ ควรเรียกพนักงานบริการหยิบให้ ถ้าจำเป็นก็ขอร้องผู้รับเชิญที่อยู่ถัดไป ด้วยความสุภาพพร้อมขอบคุณ

* การรวบมีดกับส้อม หรือช้อนส้อม อังกฤษนิยมรวบไว้ตรงกลาง ตรงหน้า และหงายส้อม แต่อเมริกันนิยมรวบไว้ หัวจานเฉียงๆ

* ควรซับริมฝีปากด้วยผ้าเช็ดปากเสียก่อน การดื่มเครื่องดื่มต่างๆ

* อาหารของหวาน ให้ใช้ช้อน-ส้อมที่อยู่ด้านหน้า

* ถ้าเสิร์ฟชาหรือกาแฟ เมื่อผสมใช้ช้อนคนเสร็จแล้ว ให้เอาช้อนวางไว้ อย่าใช้ช้อนชิมเด็ดขาด

* และอย่าเผลอเอามีดจิ้มอาหารใส่ปากเด็ดขาด

* หากรับประทานที่มีกระดูก ให้ใช้ทิชชูปิดปากค่อยๆ คายออก หรือหากรับประทานอาหารที่มีก้างหรือกระดูกไก่ ซึ่งเมื่อใช้ช้อน-ส้อมเลาะเนื้อหมดแล้วนำกระดูกวางไว้ข้างๆ จานได้

* ไม่มีงานลี้ยงใดไม่มีเหล้า จึงมีการเสิร์ฟเครื่องดื่มตามชนิดของอาหารด้วย เช่น เสิร์ฟปลาและอาหารทะเลกับไวน์ขาว อาหารประเภทเนื้อหรือไก่ก็จะเสิร์ฟพร้อมไวน์แดง หรือไวน์โรเซ่ แชมเปญจะเสิร์ฟตอนท้ายสำหรับการดื่มอวยพร ถ้ามีการได้รับเชิญดื่มแชมเปญห้ามปฏิเสธเด็ดขาด ถือว่าเสียมารยาทมาก แต่ถ้าใครไม่ดื่มช่วงที่มีการดื่มอวยพร ให้ยกแก้วขึ้นจรดภายนอกริมฝีปาก โดยไม่ต้องเอาเข้าปาก

* ถ้าเสิร์ฟไวน์สามารถดื่มได้ตลอดจนจบงาน

* ในกรณีที่มีการเสิร์ฟผลไม้สด เจ้าภาพจะเตรียมมีดสำหรับผลไม้ไว้ให้ พร้อมจัดถ้วยใส่น้ำลอยด้วยดอกกุหลาบหรือกลีบกุหลาบไว้ให้สำหรับล้างปลายนิ้ว และต้องล้างมือทีละข้าง อย่าล้างทั้งสองมือ (ไม่สุภาพ) ซึ่งในการใช้ควรระมัดระวังอย่าให้หกเลอะเทอะ ใช้ผ้าเช็ดมือเช็ดมือให้เรียบร้อย พึงระวังว่าไม่ใช่น้ำดื่ม เพราะอาจพลาดหยิบขึ้นมาดื่มได้ ในกรณีที่ผลไม้ได้รับการปอกเปลือกเรียบร้อยแล้ว ทางเจ้าภาพจะเสิร์ฟส้อมผลไม้แทน

* เมนูกระดาษทองขอบทองขนาด 4 x 6 นิ้ว มีรายการอาหารโดยมากมักจะพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศส (ถ้าเป็นไทยล้วนก็ควรใช้ภาษาไทย) หลังจบงานเลี้ยงแล้ว นำกลับบ้านเก็บไว้เป็นที่ระลึกได้

วันพุธที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2550

10 เคล็ดลับเรียนภาษาต่างประเทศให้ได้ผล

ในโลกที่เต็มไปด้วยการแข่งขันอย่างทุกวันนี้ ภาษาที่สองและสาม สี่ (ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฝรั่งเศสของพวกเราฯลฯ) คือสิ่งจำเป็นที่จะทำให้คุณดูโดดเด่น และแตกต่างจากคนอื่น และนี่คือเคล็ดลับง่าย ๆ ในการเรียนภาษาต่างประเทศให้ได้ผล
1.ยอมรับความจริง ไม่มีใครพูดภาษาที่สองได้ตั้งแต่เกิด ทุกคนต้องใช้เวลาในการเรียนรู้กันทั้งนั้น ฉะนั้นอย่าคาดหวังว่าจะต้องเข้าใจทุกสิ่งทุกอย่างตั้งแต่เริ่มต้น
2.เรียนรู้ทีละนิดจากการศึกษาพบว่า การทบทวนเป็นระยะเวลาสั้นๆ อย่างเช่น ในระหว่างทานอาหารเช้า ในขณะอาบน้ำ หรือในขณะเดินทาง จะส่งผลให้คุณจดจำได้ดีกว่า
3.ท่องศัพท์ยิ่งคุณรู้ศัพท์มากเท่าไหร่ คุณก็สามารถพูดและเข้าใจได้มากขึ้นเท่านั้น เทคนิคในการจดจำคำศัพท์ คือ พกการ์ดใบเล็กๆที่เขียนคำศัพท์ (ที่มีคำแปลอยู่ด้านหลัง) ไปกับคุณทุกที่
4.ฝึกหัดอย่างจริงจัง อย่าแค่ทำปากขมุบขมิบหรือท่องเอาไว้ใสใจ พูดหรืออ่านออกมาดังๆ ในทุกครั้งที่มีโอกาส เพื่อจะได้ฝึกปากของคุณให้เคยชินกับการออกเสียง
5.ทำการบ้านการทำการบ้านคือการฝึกฝนทักษะการใช้ภาษาให้เป็นไปอย่างแม่นยำ จนกลายเป็ความชำนาญ และสามารถทำออกมาได้อย่างอัตโนมัติในที่สุด
6. จับกลุ่มเรียน หาเวลาทบทวน ทำการบ้าน หรือแค่ฝึกพูดภาษานั้นๆ กับเพื่อนๆ เป็นประจำ ซึ่งจะช่วยแก้ไขข้อบกพร่องให้กันและกันได้ แถมยังทำคุณจดจำได้แม่นยำยิ่งขึ้นด้วย
7.หาจุดอ่อนคุณควรหาจุดอ่อนในการเรียนของตัวเองให้เจอ เพื่อที่จะได้เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ อย่างเช่น ถ้าคุณเป็นคนเงียบๆ และไม่ค่อยมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ก็บังคับตัวเองให้เลือกที่นั่งแถวหน้าในห้องเรียนซะ
8. หาโอกาสในการใช้ภาษาเพื่อสร้างความคุ้นเคยกับภาษานั้นๆ ให้ได้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการพูดคุยกับเจ้าของภาษาเช่าหนังที่พูดภาษานั้นๆ มาดูหรือแม้กระทั่วหาแฟนที่เป็นเจ้าของภาษานั้นซะเลย
9. ทุ่มความสนใจพูดง่ายๆ ก็คือ หายใจเข้าออกก็ให้เป็นภาษานั้น เรียนรู้ภาษานั้นๆ ทั้งในและนอกห้องเรียนอย่างจริงจังและเต็มที่ถึงขนาดถึงขนาดถ้าฝันได้ก็อาจฝันเป็นภาษานั้นๆ ด้วย
10. ปรึกษาผู้รู้ถ้ามีปัญหาหรือติดขัดอะไร ก็ต้องสอบถามครูผู้สอนหรือเจ้าของภาษานั้นทันที เพื่อทำลายกำแพงที่เป็นอุปสรรคในการเรียนออกไปให้เร็วที่สุด คุณจะได้ไม่ต้องสะดุดอยู่นานเกินไปซึ่งนั้นอาจทำให้คุณเกิดความเบื่อหน่ายได้
ขอบคุณข้อมูล : นิตยสาร Cosmopolitan

วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Friends.

La Révolution


Au temps de la Révolution française, la place est le lieu de passage obligé des convois, qu'ils soient improvisés ou ritualisés par le protocole des fêtes. Elle sera l'un des grands lieux de rassemblement de la période révolutionnaire, surtout lorsque la guillotine y sera installée. C'est aussi là que Louis XVI et Marie-Antoinette ont été exécutés.
Dès le 12 juillet 1789, les bustes de Jacques Necker et de Philippe d'Orléans y sont exhibés ; le prince de Lambesc et ses dragons chargent les manifestants. Le lendemain, la foule pille les armes du Garde-meuble (situé dans le bâtiment nord-est) pour « aller à la Bastille ». Le 6 octobre, Louis XVI, Marie-Antoinette, et le dauphin (futur Louis XVII), ramenés de Versailles à Paris par le peuple, font leur entrée au palais des Tuileries en traversant la place Louis-XV.
Le 11 août 1792, la statue de Louis XV est renversée de son piédestal puis envoyée à la fonte. La place Louis-XV est alors rebaptisée place de la Révolution.
La place devient le grand théâtre sanguinaire de la Révolution avec l'installation de la guillotine. Elle y vient, mais provisoirement, en octobre 1792, pour l'exécution des voleurs de bijoux de la Couronne au Garde-meuble. Elle réapparait le 21 janvier 1793 pour l'exécution de Louis XVI ; elle est alors dressée à mi-distance du socle de la statue de Louis XV et de l'entrée des Champs-Élysées. C'est enfin le 11 mai 1793 qu'elle s'y fixe à demeure, pour y rester jusqu'au 9 juin 1794, et cette fois entre le centre de la place et l'entrée du jardin des Tuileries. Sur les 2 498 personnes guillotinées à Paris pendant la Révolution, 1 119 le sont place de la Révolution. Parmi elles, on retiendra les noms de Marie-Antoinette, Charlotte Corday, Manon Roland, les Girondins, Philippe d'Orléans, la comtesse du Barry, Georges-Jacques Danton, Chrétien-Guillaume de Lamoignon de Malesherbes et Antoine Lavoisier. L'échafaud est ensuite transféré place du Trône-renversé (actuelle place de la Nation) et ne revient place de la Révolution que pour l'exécution de Maximilien de Robespierre et ses amis (10 thermidor an II - 28 juillet 1794).
En août 1793, la statue de Louis XV est remplacée par une effigie de plâtre représentant la Liberté coiffée d'un bonnet rouge et tenant une pique dans la main droite. Elle sera retirée en juin 1800. Par ailleurs, les chevaux dits de Marly, oeuvre de Guillaume Coustou, sont installés à l'entrée des Champs-Elysées en 1795.
Avec la fin de la Terreur, le gouvernement décide de rebaptiser la place de la Révolution place de la Concorde (1795).

วันพุธที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550

Proverbe ขโมย มาจาก www.rn.ac.th/kk

Aide-toi, le ciel t'aidera
Aide-toi d'abord, et les autres t'aideront pour le reste.
ช่วยตัวเองก่อน แล้วฟ้าจะช่วยท่าน
[ไม่มีใครช่วยเราได้หากเราไม่ยอมช่วยเหลือตัวเราเองก่อน]

Après la pluie le beau temps

La joie succède souvent à la tristesse, le bonheur au malheur.
ฟ้าหลังฝน
[เมื่อเหตุร้ายผ่านไปแล้ว สิ่งดีๆมักจะผ่านเข้ามา เช่นเดียวกับความสุขที่มาแทนที่ความทุกข์]

Mieux vaut tard que jamais.

Dans certaines circonstances, il vaut mieux agir,
même avec du retard, que ne pas agir du tout.
มาสายดีกว่าไม่มาเสียเลย
[ในบางสถานการณ์ถึงแม้จะช้าไปบ้างแต่ก็ยังดีกว่าไม่ทำเสียเลย]

Comme on fait son lit, on se couche

Il faut s'attendre en bien ou en mal à ce qu'on s'est préparé à soi-même par sa conduite.
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว
[ประพฤติตนอย่างไรก็จะได้ผลลัพธ์เช่นนั้น]