วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Fête des mères

Histoire.
La fête des mères trouve ses origines dans l'adoration de la mère qui était pratiquée en Grèce antique. Ce culte païen comportait des cérémonies en l'honneur de Rhéa (ou Cybèle), la Grande mère des dieux. Ce culte était célébré aux Ides de Mars dans toute l'Asie mineure :
- La Grèce antique fêtait au printemps la déesse Rhéa, mère de Zeus et de ses frères et sœurs
- Une fête religieuse romaine célébrait les matrones le 1er mars, lors des Matronalia
- Au XVe siècle, les Anglais fêtaient le Mothering Sunday, d'abord au début du carême puis le quatrième dimanche du printemps
- 1912 : les États-Unis instaurent le Mother's Day, en souvenir de la mère de l'institutrice Anna Jarvis
- 1914 : le Royaume-Uni l'adopte à son tour
- 1932 : l'Allemagne l'officialise
- Belgique, Danemark, Finlande, Italie, Turquie, Australie suivent
- France
- 1806 : Napoléon tente de relancer la fécondité et, prône les vertus de la famille lors de fêtes
- 1918 : Lyon célèbre la Journée des mères en hommage aux mères et aux épouses qui ont perdu leurs fils et leur mari
- 1929 : le gouvernement officialise cette Journée
- 1941 : le régime de Vichy inscrit la Fête des mères au calendrier
- 1950 : la loi n° 50-577 du 24 mai 1950, publiée dans le Journal officiel du 25 mai 1950, fixe la fête des mères au dernier dimanche de mai. Ces dispositions ont été intégrées en 1956 au Code de l'action sociale et des familles. L'article R. 215-1 prévoit que « Chaque année, la République française rend officiellement hommage aux mères, au cours d’une journée consacrée à la célébration de la "Fête des mères" ».[1] L'article D. 215-2 du même code ajoute que « La fête des mères est fixée au dernier dimanche de mai. Si cette date coïncide avec celle de la Pentecôte, la fête des mères a lieu le premier dimanche de juin ».

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
adoration [n.f] การบูชา
pratique [n.f] การปฏิบัติ,กิจปฏิบัติ
fécondité [n.f] การงอกพันธุ์ ,การงอกดอกออกผล
disposition [n.f] อารมณ์,การอยู่ในเงื้อมมือ,นิสัยชอบความเอนเอียง

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2550

++ แ ม่ ++ ( เห็นว่าซึ้งเลยเอามาให้อ่าน)

เช้าวันหนึ่ง..ที่โรงพยาบาล...
"ขอให้ชั้นดูหน้าลูกหน่อย..ได้มั๊ยคะ"
คุณแม่คนใหม่เอ่ยขึ้น.. เมื่อห่อผ้าน้อย ๆ ..อยู่ในอ้อมกอดเธอ
เธอค่อย ๆ คลี่ผ้าที่ห่อออก..
เพื่อมองใบหน้าเล็ก ๆ ..
กรี๊ดดดด.....เธอกรีดร้อง
หมอต้องอุ้มเด็ก..ออกไปอย่างรวดเร็ว
**เด็กทารกที่เกิดมา...ไม่มีใบหู**
และแล้ว....กาลเวลาพิสูจน์ว่า....
การได้ยินของเจ้าหนู..ไม่มีปัญหา
ปัญหา..มีเฉพาะสิ่งที่มองเห็นภายนอก คือ....ใบหูที่หายไป
หลายครั้ง..ที่เจ้าหนูกลับจากโรงเรียน แล้ววิ่งมาบอกแม่
เธอรู้ว่า..หัวใจลูกปวดร้าวแค่ไหน...
เจ้าหนูพูดโพล่งออกมา..อย่างน่าเศร้า
"พวกเด็กตัวโต ..พวกมันล้อผมว่า .. --ตัวประหลาด--"
จนกระทั่ง.... เจ้าหนูเติบโตขึ้น..หล่อเหลา.. เป็นที่รักของเพื่อน ๆ..
เค้ามีพรสวรรค์ ในด้านอักษรศาสตร์.. วรรณคดี..และดนตรี..
เค้าอาจได้เป็นหัวหน้าชั้น ...
แต่เพราะเจ้าสิ่งนั้น... ทำให้เค้า..ไม่อยากเจอใคร
"ลูกต้องพบปะกับผู้คนบ้างนะลูก" แม่กล่าว..
ด้วยความสงสารลูก พ่อของเด็กชาย.. ปรึกษากับหมอประจำครอบครัว
และได้รับข่าวดีจากหมอว่า...
"ผมสามารถปลูกถ่ายใบหูได้ครับ ถ้ามีผู้บริจาค
..แต่ใครล่ะ.. จะเสียสละใบหู..เพื่อเด็กน้อยคนนี้"
คุณหมอกล่าว จนกระทั่ง ...2 ปีผ่านไป พ่อบอกกับลูกชาย..
"ลูกเตรียมตัวไปโรงพยาบาลนะ พ่อกับแม่..หาคนบริจาคใบหูที่ลูกต้องการได้แล้ว...
แต่นี่เป็นความลับ"
การผ่าตัด..สำเร็จด้วยดี และแล้ว...คนคนใหม่ก็เกิดขึ้น..
....เค้ากลายเป็น..ผู้มีพรสวรรค์... เป็นอัจฉริยะในโรงเรียน...ในวิทยาลัย
จนเป็นที่กล่าวขานกัน..รุ่นต่อรุ่น
ต่อมาได้แต่งงาน... และทำงาน.. เป็นข้าราชการในสถานทูต
วันหนึ่ง.. ชายหนุ่มถามผู้เป็นพ่อว่า.
"พ่อครับ.. ใครเป็นคนมอบใบหูให้ผมมา ใครช่างให้ผมได้มากมาย
.. แต่ผมไม่เคยทำอะไร.. เพื่อเค้าได้เลยสักนิด"
"พ่อไม่เชื่อว่า.. ลูกจะตอบแทนเค้าได้หมดหรอก.
เรื่องนี้...เป็นความลับ เราตกลงกันแล้ว" พ่อตอบ..
หลายปีผ่านไป.... มันยังคงเป็นความลับ
และแล้ว..วันนึง..วันที่มืดมิดที่สุด.. ผ่านเข้ามา..
ในชีวิตของลูกชาย แม่เค้าได้เสียชีวิตลง.
เค้ายืนข้าง ๆ พ่อ... ใกล้บศพของแม่ พ่อเรียกเค้า..
"มานี่สิลูก..มานั่งใกล้ ๆ นี่"
พ่อลูบผมแม่อย่างช้า ๆ..และนุ่มนวล ผมสีน้ำตาลแดง..ถูกเสยขึ้น
จนมองเห็นใบหน้า.. ที่มองดูเหมือนคนนอนหลับ
...และแล้ว.. สิ่งที่ทำให้ลูกชาย..ถึงกับต้องตะลึง..
...ใบหูของแม่...หายไป!.. แม่ไม่มีใบหู...
"นี่เป็นคำตอบ.. ที่ลูกอยากรู้มาตลอดชีวิต".. พ่อกระซิบผ่านลูกชาย
"แม่บอกพ่อว่า..เธอดีใจ... ที่ได้ทำอย่างนี้..
ตั้งแต่วันผ่าตัด.. แม่ไม่เคยตัดผมอีกเลย..
ไม่มีใคร..มองเห็นว่า.. เธอไม่สวยจริงมั๊ย?

จงจำไว้..
~สิ่งมีค่า...ที่แท้จริง~ ไม่ได้อยู่ที่..การมองเห็น..
หากแต่อยู่ที่.. ~สิ่งที่เรา..มองไม่เห็น~
~ความรัก..ที่แท้จริง~
ไม่ได้อยู่ที่.. เราได้ทำอะไร.. แล้วมีคน..รับรู้..
หากแต่อยู่ที่.. สิ่งที่เรา..กระทำ..แล้วไม่มีใคร..รับรู้ ..
~ความรัก~ บางครั้ง..
ไม่จำเป็น.. ต้องพูดพร่ำเพรื่อ..
หากแต่อยู่ที่....การกระทำ. ซึ่งเรา..อาจรับรู้.. เพียงแค่..ฝ่ายเดียว..
อ่านจบแล้ว..ใช้สมอง..ตรึกตรองสักนิด..
ถ้าพรุ่งนี้..เราตายไป.. บริษัท.. สามารถหาคนมาแทนเราได้ ภายในไม่กี่วัน..

แต่ครอบครัวเรา.. ต้องสูญเสีย.. และคิดถึงเรา..ไปตลอด
เราได้ใช้ชีวิต..กับการทำงาน มากกว่าครอบครัว..หรือเปล่า?

ถ้ามากกว่า... ก็เป็นการลงทุน.. ที่ไม่ฉลาดเลยจริง ๆ..

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2550

หนุ่มชีกอ+สาวแสบ

สาวใดที่มักถูกผู้ชายชีกอก้อร่อก้อติกอยู่เป็นประจำ
ลองเลือกประโยคแสบๆ เหล่านี้ดูสิคะ
เลือกเอาไว้ใช้ตีแสกหน้าพวกชีกอดูให้รู้กันเสียบ้างว่า เกิดเป็นหญิงแท้จริงแล้วว่าแสบเพียงไหน?
หนุ่มชีกอ: "เราเคยเจอกันมาก่อนรึเปล่าครับ?"
สาวแสบ : "เคยค่ะ เดี๊ยนเป็นพนักงานต้อนรับอยู่ที่คลีนิคกามโรคไงคะ"

หนุ่มชีกอ: "ผมเคยเห็นคุณที่ไหนมาก่อนรึเปล่าเนี่ย?"
สาวแสบ : "คงงั้นมั้งคะ ชั้นถึงไม่เคยไปที่นั่นอีกเลยไง"

หนุ่มชีกอ: "ที่นั่งตรงนี้ว่างมั้ยครับ?"
สาวแสบ : "ว่างค่ะ และที่ของเดี๊ยนก็จะว่างด้วยนะคะถ้าคุณจะนั่งล่ะก็"

หนุ่มชีกอ: "จะไปบ้านคุณหรือบ้านผมดี?"
สาวแสบ : "ทั้งสองหลังเลยดีกว่าค่ะ คุณไปบ้านคุณ ชั้นก็ไปบ้านชั้น"

หนุ่มชีกอ: "ผมอยากโทร.ไปหาคุณจังเลย เบอร์อะไรครับ?"
สาวแสบ : "มันก็อยู่ในสมุดโทรศัพท์ไงคะ"

หนุ่มชีกอ: "แต่ผมไม่รู้จักชื่อคุณนี่?"
สาวแสบ : "นั่นก็อยู่ในสมุดโทรศัพท์เหมือนกันค่ะ"

หนุ่มชีกอ: "งั้นคุณทำมาหากินอะไรครับ?"
สาวแสบ : "เดี๊ยนปลอมตัวเป็นผู้หญิงค่าาาา"

หนุ่มชีกอ: "ผมรู้วิธีที่จะปฏิบัติต่อผู้หญิงหรอกน่า"
สาวแสบ : "งั้นก็กรุณาอย่ามาวุ่นวายกับเดี๊ยนนะคะ"

หนุ่มชีกอ: "ถ้าหากผมได้เห็นคุณเปลือยเปล่า ผมคงตายอย่างมีความสุข
สาวแสบ : "งั้นเชียว แต่ถ้าชั้นได้เห็นคุณล่อนจ้อนนะชั้นคงได้ตายอย่างขำก ลิ้งแน่เลย"

หนุ่มชีกอ: "ผมจะยอมทำทุกอย่างเพื่อคุณ"
สาวแสบ : "อุ๊ย ดีค่ะ เราเริ่มกันที่บัญชีธนาคารของคุณเลยเป็นไงคะ"

หนุ่มชีกอ: "ผมอยากถวายตัวให้กับคุณนะ"
สาวแสบ : "เสียใจนะคะ เดี๊ยนไม่รับของขวัญถูกๆ ค่ะ"

วันพุธที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Le passé composé.


Le passé composé.

C'est un moment précis sans rapport avec le présent.

Un moment précis : Hier, je suis allé à la plage.

Une répétition : Je suis allé 4 fois au cinéma.

Une succession : Je suis allé à la plage, j'ai rencontré Stéphane, on est retourné dans un café, ...


Etre/Avoir(au présent de l'indicatif)+Participe passé
Hier, j'ai fait du roller.
1. Avec "être" (fiche pédagogique) : 14 verbes
aller(je suis allé)
venir(je suis venu)
entrer(je suis entré)
sortir(je suis sorti)
naître(je suis né)
mourir(je suis mort)
arriver(je suis arrivé)
partir(je suis parti)
retourner(je suis retourné)
passer par(je suis passé par)
rester(je suis resté)
tomber(je suis tombé)
monter(je suis monté)
descendre(je suis descendu)
Tous les verbes pronominaux : se laver : je me suis lavé
2. Avec "avoir" : tous les autres verbes
Mais il existe des exceptions avec les verbes ci-dessous :

AVOIRComplément d'Objet Directqui / quoi ?
ETRE Autres où / quand / comment / ...?
Monter
J' ai monté les valises
Je suis monté dans le train
Descendre
J'ai descendu le sac
Je suis descendu de la montagne
Rentrer
J'ai rentré la voiture
Je suis rentré à la maison
Sortir
J'ai sorti le chien
Je suis sorti de la gare
Retourner
J'ai retourné la crêpe
Je suis retourné en France
Passer
J'ai passé un examen
Je suis passé par Trouville

3. Les participes passés réguliers:
___er = ____é
____ir = ____i
____oir = ____u
manger = mangé
finir = fini
voir = vu
. On accorde le participe passé avec le sujet s'il est conjugué avec le verbe être :Elle est morte
. On accorde le participe passé avec le complément d'objet direct s'il est placé avant le verbe :Elle a mangé une pommeMAIS : la pomme qu'elle a mangée

++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

précis [adj.] แน่นอน,แน่ชัด/[n.m]ย่อความ,สรุปความ

rapport [n.m] รายได้ของแผ่นดิน,กำไร,ผลประโยชน์,การเกี่ยวพัน

crêpe [n.m] ผ้าย่น,ผ้าแขนทุกข์ [n.f] ขนมแป้งทอด เป็นรูปแบน

répétition [n.f] การทวนซ้ำ,การซ้อม,การเรียนพิเศษ

succession [n.f]การสืบลำดับ,ลักษณะมรดก,ความเป็นทายาท,ลำดับ

วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Article partitif

Article partitif
L'article partitif est un article indéfini employé devant un nom désignant une réalité indénombrable (Il boit du lait), ou désignant une chose abstraite (Vous avez du courage pour agir ainsi).
L'article partitif prend les formes :


du avec un masculin commençant par une consonne;

de l' avec un masculin commençant par une voyelle;

de la avec un féminin commençant par une consonne;

de l' avec un féminin commençant par une voyelle;des devant un masculin ou un féminin pluriel.


Notez : "des" est la forme unique pour l'article indéfini ou pour l'article partitif. C'est aussi la forme de l'article défini contracté "de + les".

วันอาทิตย์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2550

คาถาขอเกรดครู

ศิษย์ขอฝากถึงอาจารย์
อาจารย์โปรดเกล้า เมตตา
ศิษย์กราบงามสามตรา สิบครั้ง
หวังท่านพิจารณา เกรดใหม่
D และ F โปรดยั้ง หยุดยั้งยอมมือ
เราก็ผู้หนึ่ง ผู้รักเรียน
อ่านอ่านแทบเอียน โอษฐ์อ้วก
สิบตลบสิฝึกเขียน จนคล่อง
พอสอบดั่งบ้าใบ้ หน้ามืด ตามัว
สุดกลัวตอบผิดแล้ว หรือเรา
ข้อสอบยากเกินเดา สุ่มได้
ไม่รู้แต่ท่านเอา ออกสอบ
แสนยากอยากร้องไห้ สุดโหดจริงจริง
อิงเกณฑ์อิงกลุ่มก้อน เป็นไร ไป่ฤา
D และ F สิจี้ใจ เจ็บแท้
A B และ Cไป ไหนหมด
สอบเสร็จต้องกลับแก้ สอบซ้ำสุดซวย
ขวยเขินเกินหยุดยั้ง ยืนยง
แปลกแปลกข้อสอบงง เรียบร้อย
ที่อ่านกลับมิตรง ที่ออก
ที่ออกสิลิ้นห้อย ใกล้ฆ่าตัวตาย
ไหว้ล่ะอาจารย์ผู้ ใจดี
ก้มกราบอีกสองที อย่าร้าย
เหอะเหอะอย่าถึง C เลยแม่ นาพ่อ
ท้ายอาจไทร์เทอมท้าย สุดโง่โดนไทร์
ใจจะวายโปรดจ้องเนตร ศิษย์ดู
นึกว่าช่วยลูกงู ตกน้ำ
หากได้ (แฮ่ แฮ่)ไก่อู อบอร่อย
มิได้อาจต้องซ้ำ ชอกเนื่ออาจารย์สังเวียน
อาจารย์ฝากถึงศิษย์บ้าง
ศิษย์เง่าอย่าเรียกร้อง เมตตา
อย่ากราบงามสามตรา แทบเท้า
อย่าหวังเรื่องจะกา เกรดใหม่
D และ F เป็นของเจ้า อยู่แล้วนะเออ
เธอหรือคือผู้ชอบ ขาดเรียน
ถึงจะอ่านจนเอียน โอษฐ์อ้า
ร้องตลบฝึกเขียน ฤาคล่อง
พอสอบย่อมบ้าใบ้ หน้ามืดตามัว
มีกลัวตอบผิดด้วย หรือเธอ
ข้อสอบหมูนะเออ บอกให้
ตรงตัวอย่างจังเบอร์ เลยพ่อ
เคยอ่านบ้างหรือไม่ บอกไว้ จริงจริง
อิงเกณฑ์กลุ่มไป่สู้ อิงกู
D F ของชอบครู จึ่งให้
A B และ C กู กักเก็บ
สอนเสร็จพึงหวังได้ สอบซ้ำ แน่เลย
เหวยเหวยใยกล่าวอ้าง งุนงง
ข้อสอบครูออกตรง ทุกถ้อย
ไยอ่านมิเจาะจง ที่บอก
เจอเจอะจึ่งลิ้นห้อย แทบม้วย เท่งทึง
ถึงจะปละหลกไหว้ ร้อยที
ขอว่าครูปรานี อย่าร้าย
อย่างมากจะให้ C อย่าบ่น
ถึงจะไทร์เทอมท้าย ช่วยได้ยังงัย
เห็นใจจึงน้องเนตร ศิษย์ดู
เห็นว่าอาจเป็นงู กัดแว้ง
ถึงจะยกไก้อู มาล่อ
ท้ายสุดคงจะแกล้ง เจาะล้อ รถครู
ประพันธ์โดย ศ.ดร.มงคล เดชนครินทร์

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Histories of Perfumes


Perfumes



A Skelding Summary


Perfumes have their origin in the Ancient World and are mentioned in the Bible. No doubt Delilah and Salome had their own perfumers. The idea with perfumes is to smell desirable. A byproduct of this is to hopefully become attractive to the opposite sex. Cleopatra met Anthony covered in perfume , in a barge with sails soaked in rosewater.


Perfumes are made from many constituents - some natural (of plant and animal origin) and others synthetic. Oils which make perfumes are extracted from plants by steam distillation and then have alcohol added to them to enhance the fragrance. Other techniques include the 'maceration' of oils where the constituents such as peels from fruit are steeped in water before being treated again with alcohol.


Some fine perfumes have up to 100 or so ingredients - so the next time you encounter an interesting fragrance there will probably be something like cloves, lavender, moss, civet (from a cat) and musk somewhere within it.


Men tend to wear aftershave, which is simply perfume by another name. Rather than smelling of carnation or roses - men tend to go for fragrances that are based on spice, leather and wood - and which by definition are masculine and 'butch'. However recently sweeter frangrances are creeping in as men like the smell of flowers as much as women


Similarly, containers & receptacles for perfumes date back to the Ancient Egypt at least 1000BC. This was important in that the Egyptians used scents & perfumes a great deal for religious ceremonies - and it wasn't a good idea to see the perfume go off in the heat or evaporate. Certain fragrances are still valued in modern religions such as frankincence and Myrrh which make the crypts smell better. In the middle ages a congregation could be malodorous indeed. Bottles of glass and pottery were then used by the Greeks & Romans to store perfumes. The Romans particularly liked perfumes as they believed it could improve thei prowess of both ladies and gentlemen. They splashed it all over and put it in their famous baths. Special slaves called 'cosmetae' were employed to keep their mistresses fragrant.


In the Middle Ages in Europe perfume was important in the higher circles as they did not wash very often. The wigs and clothing were seldom if ever washed and became particularly musty after a while. Even lice & fleas were an accepted part of life no matter what social status. Hygeine is a comparitively modern concept after Pasteur and Lister demonstrated the efficacy of a good wash in improving health. Now, we tend to take deoderants for granted and turn up our noses at the faintest whiff of sporty activity.


Elaborate perfume bottles became commonplace due to the ascendancy of the Venetian glassblowing industry and by the 1700s bottles of scent were decorated with gold, silver and jewellery to denote the social status of the wearer and also the giver of the perfume which has been a welcome gift for many millennia.


In the nineteenth century classical designs by Josiah Wedgewood became popular, a tradition revived in the 1920s by the French jeweller, Rene Lalique. Though established perfumers like Channel are able to sell their essences in classic simple bottles, newcomers to the market rely on the exotic which are still popular and often cost more than the contents.


Histories of Things By Laurence Skelding

Grands Magasins

Entrez dans les temples du shopping

Sous leurs féeriques verrières Art Nouveau, les grands magasins sont devenus des monuments aussi incontournables que la Tour Eiffel ou Notre-Dame. Considéré comme le premier centre commercial d’Europe avec ses 120 millions de visiteurs annuels, le boulevard Haussmann est à lui seul une véritable ville dans la ville. Mais c’est sans compter les grands magasins de la rue de Rivoli, de la Rive Gauche ou de la Madeleine. A eux tous, ils sont un bouillonnant concentré de Paris où tous vos souhaits de shopping peuvent être exaucés. Mode, beauté, décoration, loisirs ou plaisirs de la table ne sont qu’un aperçu de toutes les créations qui vous y attendent.

วันจันทร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2550

La Mode Francaise

Importations par origine. En 2005 : 7,34 milliards d'euros
Afrique : 19,6 %
Tunisie : 56,4 %
Maroc : 43,1 %
Union Européenne : 31,0 %
Italie : 31,5 %
Belgique : 17,8 %
Espagne : 10,0 %
Allemagne : 11,6 %
Portugal : 5,9 %
Royaume-Uni : 5,9 %
Asie du Sud-Est : 23,6 %
Chine : 70,7 %
Indonésie : 5,9 %
Hong-Kong : 6,9 %
Vietnam : 5,2 %
Macao : 4%
Autres pays d'Asie : 10,5 %
Europe de l'Est :7,7 %
Autres pays : 7,7 %


Importations par catégorie de produit (rappel année 2004)
CHEMISES (H et Garçonnet) : 479, 5 millions d'euros (66,7 millions de pièces)
CHEMISIERS (F et Fillette) : 353 millions d'euros (51,2 millions de pièces)
ANORAKS, BLOUSONS (H+F) : 468,5 millions d'euros (42,7 millions de pièces)
COSTUMES et TAILLEURS (H+F) : 225,5 millions d'euros (4,2 millions de pièces)
ENSEMBLES (H+F) : 83,4 millions d'euros (10,3 millions de pièces)
ROBES (F et fillettes) : 237,2 millions d'euros (23,8 millions de pièces)
JUPES (F et fillettes) : 353,9 millions d'euros (49,9 millions de pièces)
VESTES (H+F) : 399,8 millions d'euros (18,1 millions de pièces)
PANTALONS (H+F) : 1 946,9 millions d'euros (208,9 millions de pièces)
MANTEAUX, IMPERMÉABLES (H+F) : 322,3 millions d'euros (17,3 millions de pièces)
SOUTIENS-GORGE : 317 millions d'euros (79 millions de pièces)
etc.

วันศุกร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2550