วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2552

Munster







Le Munster naquit dans un monastère de la vallée du même nom. Il est crée au VIIème siècle par des bénédictins dont la règle prohibait la consommation de viande au profit du lait et de ses produits dérivés. Pendant son affinage, le Munster est retourné tous les deux jours et frotté à l’eau tiède des Vosges. Cette opération favorise le développement de ferments du rouge, qui les protègent pendant leur vieillissement. Pour donner une touche originale à ce fromage, vous pouvez le déguster avec des graines de cumin et l’accompagner d’une bière brune. Il obtiendra l’AOC en 1978.

L’odeur typique et peu discrète va de pair avec une saveur franche et relevée mais toujours équilibrée. Son fort parfum de flore des chaumes reflète celui des hauts pâturages des Vosges, riches en herbe épaisse et en plantes aromatiques.Légèrement striée et humide, la croûte, à force d’être lavée, se colore de jaune puis de rouge orangé. Sous la croûte fine et lisse du Munster se dissimule une pâte souple et onctueuse.


+++

Munster was born in a monastery situated in a valley of the same name. Benedictine monks who were prohibited from eating meat, created the cheese in the 12th century. During its maturing, Munster is turned every two days and washed with warm water from the Vosges. In 1978 the cheese was accepted into the AOC family.

To give this cheese an original touch you can taste it flavoured with cumin and accompanied by a good beer. This method develops a red coating on the rind that protects the cheese as it ages. The rind is slightly corrugated and humid, which comes from the washing. Over time the rind turns from yellow to red. Under the rind we find a pate that pliable and sticky.


แคว้น Alsage



Source : www.fromage.com

วันศุกร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2552

รู้หรือไม่ ??? ทำไมหนึ่งโหลมี 12 ชิ้น

ย้อนกลับไปหาที่มาคำว่า dozen ถือกำเนิดจากชาวสุเมเรียนในเมโสโปเตเมีย ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นชนชาติแรกที่สร้างสัญลักษณ์การนับตัวเลขในชีวิตประจำวันด้วยการเปล่งเสียงเรียก..
ต่อมาในช่วง 3,100 ปี ก่อนคริสตกาล ชาวสุเมเรียนเขียนจำนวนตัวเลขเป็นรูปลิ่ม และสร้างระบบจำนวนขึ้นมา จากฐาน 60 ซึ่งง่ายต่อการหารด้วยจำนวนต่างๆ แบ่งเป็นแฟ็กเตอร์ [ส่วนที่คูณกันขึ้นเป็นจำนวน] ได้แก่ 2, 3, 4, 5, 6, 10, 12, 15, 20, และ 30
คำว่าdozen มีความหมายมาจาก "5 ส่วนของ 60" [12 คูณ 5 เท่ากับ 60] ภาษาละติน หมายถึง 12 ขณะที่ชาวโรมันถือว่าเลข 12 เป็นเลขศักดิ์สิทธิ์ จึงนำมาสร้างระบบการนับปี แบ่งให้มี 12 เดือน ส่วนพ่อค้าแม่ขายในในสมัยโบราณก็นิยมใช้ 12 เป็นราคาในการขายของ เพราะสะดวกและแยกส่วนได้ง่ายกว่าเลข 10 และใช้เรื่อยมาจนทุกวันนี้
นอกจากนี้ยังมีเรื่องเล่าว่า ในช่วงยุคกลางของอังกฤษ พ่อค้าขนมปังจะต้องถูกลงโทษหนัก หากตัดขายขนมปังในน้ำหนักที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ขณะที่พ่อค้าขนมปังในยุคนั้นก็ไม่ได้มีความรู้นับจำนวนอะไร กลัวจะพลาดระหว่าง 11 ก้อนกับ 12 ก้อน จึงหันไปใช้วิธีกันเหนียว คือตัดขนมปัง 13 ก้อนเวลาที่จะขายขนมปังหนึ่งโหล กรณีนี้หนึ่งโหลเลยมี 13 ชิ้น ซึ่งไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก
ทิ้งท้ายด้วยข้อมูลจากเว็บไซต์วิกิพีเดียนะครับ ที่ระบุว่า โหลมาจากภาษาอังกฤษว่า Dozen รากศัพท์ภาษาละตินว่า duodecim เชื่อว่าเป็นการนับเลขรวมกลุ่มแบบแรกๆ เพราะตัวเลข 12 มาจากฐานการนับรอบดวงจันทร์โคจรรอบดวงอาทิตย์
รู้จักว่าเป็นระบบจำนวนฐานสิบสอง หรือทวาทิศนิยม [duodecimal system] 12 โหลเรียกว่า 1 กุรุส [a gross] การนับโหลสะดวกสบาย เพราะตัวคูณ และพหุคูณคิดได้ง่าย เช่น 12 เท่ากับ 3 X 2 X 2 หรือ 360 เท่ากับ 20 X 3 X 3 X 2 ครับ..