วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ที่สุดในประเทศไทย

จังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด
จังหวัดนครราชสีมา 22,848,421 ตารางกิโลเมตร

จังหวัดที่มีพื้นที่น้อยที่สุด
งหวัดสมุทรสงคราม 431,801 ตารางกิโลเมตร

ยอดเขาสูงที่สุด
ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่

จังหวัดที่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมากที่สุด
จังหวัดเชียงราย 2,575 เมตร หรือ 8,450 ฟุต

แม่น้ำที่ยาวที่สุด
แม่น้ำมูล ยาว 673 กิโลเมตร

ส่วนที่ยาวที่สุดของไทยจากเหนือสุด
อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ถึงใต้สุด คืออำเภอเบตง จังหวัดยะลา ระยะทาง 1,620 กิโลเมตร

ส่วนที่กว้างที่สุดของไทยจากตะวันออก
ตำลบช่องแม็ก อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ถึงตะวันตก คือ ด่านเจดีย์สามองค์ อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ระยะทาง 750 กิโลเมตร

ส่วนที่แคบที่สุดของแผ่นดินไทย
ที่ตำบลคลองวาฬ อำเภอเมือง จังหวัดประจวบฯ กว้างเพียง 10.6 กิโลเมตร

บริเวณที่แคบที่สุดของคาบสมุทรภาคใต้
คอคอดกระ อยู่ที่จังหวัดระนอง กว้าง 50-80 กิโลเมตร

เทือกเขาที่ยาวที่สุด
เทือกเขาตะนาวศรี ยาวประมาณ 834 กิโลเมตร สูงประมาณ 1,500 เมตร

บริเวณที่ฝนตกชุกที่สุด
จังหวัดระนอง ฝนตกเฉลี่ยปีละประมาณ 5,106.3 มิลลิเมตร

บริเวณที่ฝนตกน้อยที่สุด
จังหวัดตาก ฝนตกเฉลี่ยปีละประมาณ 951.1 มิลลิเมตร

ทางรถไฟสายที่ยาวที่สุด
ทางรถไฟสายใต้ จากสถานีธนบุรี ถึงสุไหงโก-ลก ยาว 1,144 กิโลเมตร

ทางหลาวแผ่นดินสายที่ยาวที่สุด
ทางหลวงหมายเลข 4 ถนนเพชรเกษม เริ่มจากกรุงเทพฯ ถึงคลองพรวน ระยะทาง 1,352 กิโลเมตร

พระนอนที่ยาวที่สุด
พระนอนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) กรุงเทพฯ ยาว 46 เมตร

พระพุทธยืนที่สูงที่สุด
หลวงพ่อโต วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม กรุงเทพฯ

พระพุทธรูปปางสมาธิที่ใหญ่ที่สุด
พระพุทธโคดม วัดไผ่โรงวัว จังหวัดสุพรรณบุรี

เจดีย์ที่สูงที่สุด
พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม สูง 3 เส้น 1 คืบ 6 นิ้ว

สะพานที่ยาวที่สุด
สะพานติณสูลานนท์ จังหวัดสงขลา ยาว 2,950 เมตร

พันธุ์ปลาน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ปลาบึก พบในแม่น้ำโขง

วัดที่มีเจดีย์มากที่สุด
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) กรุงเทพฯ

นายกรัฐมนตรีที่อยู่ในตำแหน่งนานที่สุด
จอมพล ป. พิบูลสงคราม 14 ปี 11 เดือน 18 วัน

น้ำตกที่สูงที่สุด
น้ำตกสาริกา จังหวัดนครนายก

ระฆังที่ใหญ่ที่สุด
ระฆังวัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี กรุงเทพฯ

เกาะที่ใหญ่ที่สุด
เกาะภูเก็ต พื้นที่ประมาณ 538,720 กิโลเมตร

เครดิต : http://www.baanjomyut.com/library/miscellary/nuberinthai.html

วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส ในสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5

1.[ลำดับที่ 18] ชาร์ลส์ เดอ โกลล์
Charles de Gaulle (10 ปี)
2. รักษาการประธานาธิบดี
อแลง โปเอร์ Alain Poher(2 เดือน)
3. [ลำดับที่ 19] ชอร์ช ปงปิดู Georges Pompidou(7 ปี)
4. รักษาการประธานาธิบดี
อแลง โปเอร์ Alain Poher (6 เดือน)
5. [ลำดับที่ 20] วาเลรี ชิสการ์ด เดส์แตง Valéry Giscard d'Estaing (7 ปี)
6. [ลำดับที่ 21] ฟรองซัวส์ มิตแตร์รองด์ François Mitterrand(14 ปี)
7. [ลำดับที่ 22]ฌาคส์ ชีรัค Jacques Chirac(12 ปี)
8. [ลำดับที่ 23] นิโกลาส์ ซาร์โกซี Nicolas Sarkozy

วันเสาร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Convention de Schengen-สนธิสัญญาเชงเก้น


แผนที่แสดงการเข้าร่วมข้อตกลงเชงเกน สีฟ้าคือประเทศที่ประกาศใช้แล้ว สีเขียวคือประเทศที่เตรียมเข้าร่วม
La convention de Schengen prévoit la suppression des contrôles d'identité aux frontières entre les pays signataires. Le territoire sans frontière ainsi créé est communément appelé espace Schengen (du nom du village luxembourgeois de Schengen, tripoint frontalier entre l'Allemagne, le Luxembourg (le Bénélux) et la France, au bord de la Moselle, où l’accord (entre ces cinq États) a été signé en juin 1985).
Les pays signataires pratiquent une politique commune en ce qui concerne les visas et ont renforcé les contrôles aux frontières limitrophes de pays extérieurs à l’espace. Bien qu'il n'y ait en théorie plus de contrôles aux frontières internes à l’espace Schengen, ceux-ci peuvent être mis en place de manière temporaire s'ils s'avèrent nécessaires au maintien de l’ordre public ou de la sécurité nationale. Désormais, les citoyens étrangers qui disposent d'un visa de longue durée pour l’un des pays membres peuvent circuler librement à l’intérieur de la zone.
Avec l'application le 21 décembre 2007 de la convention par neuf pays supplémentaires, l'espace Schengen regroupe 24 pays européens et permet la libre circulation d'environ 400 millions de citoyens.

+++++++

ความตกลงเชงเกน (ภาษาอังกฤษ: Schengen Agreement) เป็นความตกลงระหว่างประเทศส่วนใหญ่ในทวีปยุโรปอันให้สัตยาบันเมื่อ พ.ศ. 2528 สาระสำคัญเป็นการอนุญาตให้สมาชิกในกลุ่มสามารถเดินทางระหว่างกันโดยไม่ต้องถือหนังสือเดินทาง ข้อตกลงนี้มีผลต่อประชากร 4,000,000 คนใน 24 ประเทศ (21 ธันวาคม พ.ศ. 2550) ครอบคลุมเนื้อที่ 4,268,633 ตารางกิโลเมตร (1,648,128 ตารางไมล์) นอกจากนั้นยังให้การอนุญาตชั่วคราวกับผู้ถือใบอนุญาตเชงเกน (Schengen Visa) มีสิทธิในการเดินทางได้ชั่วคราวในประเทศสมาชึกโดยถือใบอนุญาตใบเดียว ตามสนธิสัญญาอัมส์เตอร์ดัม (Treaty of Amsterdam) ข้อตกลงและตัดสินใจทุกข้อของความตกลงเชงเกนกลายเป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายของสหภาพยุโรป
ประเทศที่ลงนามในความตกลงฉบับนี้มีด้วยกัน 30 ประเทศรวมทั้งประเทศในสหภาพยุโรปทุกประเทศ และประเทศนอกสหภาพอีก 3 ประเทศคือ ประเทศไอซ์แลนด์ ประเทศนอร์เวย์ และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ปัจจุบันมี 24 ประเทศที่ใช้ความตกลงนี้ สหราชอาณาจักรยังมิได้ใช่กฏนี้ หลังจากที่มีการปฏิบัติข้อตกลงนี้ด่านหรือป้อมตรวจคนเข้าเมืองของประเทศที่อยู่ในเครือเชงเกนก็ถูกรื้อทิ้ง[1]

ประเทศสมาชิกเชงเก้น
ประเทศที่อนุญาตให้ประชาชนในกลุ่มเชงเกนสามารถเดินทางระหว่างกันโดยไม่ต้องถือหนังสือเดินทาง และประชาชนจากประเทศนอกกลุ่มเชงเกนเดินทางระหว่างประเทศเชงเกนได้โดยใช้ใบอนุญาตเพียงใบเดียว - ใบอนุญาตเชงเกน (Schengen Visa) ประเทศสมาชิกทั้งหมดหลังจากการเข้าร่วมเพิ่มเติมวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ประกอบด้วย
ประเทศเบลเยียม
ประเทศฝรั่งเศส
ประเทศอิตาลี
ประเทศลักเซมเบิร์ก
ประเทศเนเธอร์แลนด์
ประเทศเดนมาร์ก
ประเทศกรีซ
ประเทศโปรตุเกส
ประเทศสเปน
ประเทศเยอรมนี
ประเทศออสเตรีย
ประเทศฟินแลนด์
ประเทศสวีเดน
ประเทศนอร์เวย์
ประเทศไอซ์แลนด์
ประเทศมอลตา
สาธารณรัฐเช็ก
ประเทศเอสโตเนีย
ประเทศฮังการี
ประเทศโปแลนด์
ประเทศสโลวาเกีย
ประเทศสโลวีเนีย
ประเทศลัตเวีย
ประเทศลิทัวเนีย
ประเทศโมนาโก
ประเทศไซปรัส เลื่อนการอนุญาตไปหนึ่งปี ประเทศบัลแกเรีย และ ประเทศโรมาเนีย ยังอยู่ในการพิจารณา

วันอังคารที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Aéroport international de Bangkok สนามบินสุวรรณภูมิ



L'aéroport international de Bangkok', également « aéroport international de Suvarnabhumi » (prononcer Souwanapoum) depuis le 28 septembre 2006 (en anglais Bangkok International Airport), (code AITA : BKK, code OACI : VTBS) est le principal aéroport de Thaïlande. Il complète l'Aéroport international Don Muang dédié à la majorité des vols domestiques, au Fret aérien et à l'armée.
Bangkok est la plaque tournante principale pour les vols à destination de l'Asie du Sud-Est, l'ancien aéroport étant arrivé à saturation, Suvarnabhumi airport est largement plus grand que Don Muang.
Ce nouvel aéroport international, Suvarnabhumi Airport, à 30 km à l'est de Bangkok, a été conçu pour un trafic annuel maximum de 45 millions de passagers, sa construction a pris beaucoup de retard et son ouverture n'a été officialisée que le 28 septembre 2006, après de nombreux reports. Il posséde la plus haute tour de contrôle du monde.
Le 29 juillet 2006, un Boeing 747-400 de la Thai Airways International (vol TG181) en provenance de Bangkok-Don Muang, avec à son bord l'ancien premier ministre Thaksin Shinawatra, de nombreuses personnalités officielles et 400 passagers, s'est posé sur la piste à 8 heures 09 minutes, inaugurant ainsi le premier vol commercial sur le nouvel aéroport. D'autres vols commerciaux ont permis de tester ses infrastructures jusqu'à la date de son ouverture officielle.
De nombreuses erreurs de construction, principalement dues à la mauvaise qualité des matériaux utilisés et à la sous-estimation de la consistance du sous-sol marécageux, ont conduit les autorités Thaïlandaises à rouvrir aux vols commerciaux de passagers l'aéroport Don Muang International pour soulager les infrastructures de Suvarnabhumi Airport.
Depuis le 25 mars 2007, le nombre de vols intérieurs au départ de Suvarnabhumi Airport a diminué, suite au transfert des vols de compagnies aériennes "low cost" et de certains vols intérieurs de la Thai Airways International vers le terminal Domestique de l'ancien aéroport Don Muang International (au nord de Bangkok).
Les correspondances aériennes nécessitant le transfert d'un aéroport vers l'autre doivent être envisagées à un intervalle de 3h30, durée permettant d'accomplir les formalités internationales, récupérer ses bagages et se rendre au second aéroport.